วันอังคาร ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2555
***สอบกลางภาค***
วันอังคารที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 6
วันอังคาร ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.2555
-อาจารย์ให้ส่งแผนการสอน
-อาจารย์เเจกกล่องขนาดต่างๆที่เป็นของเหลือใช้ให้นักศึกษาคนละ1กล่อง
-อาจารย์ใช้คำถาม
1.นักศึกษาเห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร?
2.นักศึกษาอยากให้กล่องเป็นอะไร?
3.แล้วกล่องยังสามารถนำไปเสริมประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์อะไรบ้าง?
เช่น รูปทรง ขนาด พี้นที่ เรียงลำดับ เปรียบเทียบ อนุกรม เซต
-อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 2 กลุ่ม
-อาจารย์ให้นำผลงานทั้ง 2 กลุ่มมารวมกันและจัดนิทรรศการ โดยอาจารย์มีอุปกรณ์เพิ่มเติมให้
-อาจารย์ให้ส่งแผนการสอน
-อาจารย์เเจกกล่องขนาดต่างๆที่เป็นของเหลือใช้ให้นักศึกษาคนละ1กล่อง
-อาจารย์ใช้คำถาม
1.นักศึกษาเห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร?
2.นักศึกษาอยากให้กล่องเป็นอะไร?
3.แล้วกล่องยังสามารถนำไปเสริมประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์อะไรบ้าง?
เช่น รูปทรง ขนาด พี้นที่ เรียงลำดับ เปรียบเทียบ อนุกรม เซต
-อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 2 กลุ่ม
- ให้แต่ละคนในกลุ่มนำกล่องมาวางต่อกันโดยไม่ให้ปรึกษากัน
*ต่อเสร็จอาจารย์ให้บอกว่าชิ้นของตนเองที่ต่อต้องการให้เป็นอะไร?
- ให้แต่ละคนวางกล่องต่อกันโดยให้ปรึกษากันได้
- นักศึกษาทั้งหมดปรึกษากันว่าจะทำเป็นสวนสัตว์
สิ่งที่ได้จากการต่อกล่องเป็นสวนสัตว์
- เด็กจะได้เรียนรู้คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ ทิศทางซ้าย ขวา หน้า หลัง จุดกึ่งกลาง ระหว่าง ระยะทาง
- ได้รู้รูปทรงที่แตกต่าง รูปร่าง มุม
- เซต ในการสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งต้องมีส่วนประกอบใดบ้าง เป็นต้น
กล่องยังนำมาทำอะไรได้อีกนอกจากจัดนิทรรศการ
- เป็นวัสดุผลิตสื่อต่างๆ
- ใช้เป็นอุกรณ์ในมุมต่างๆ เช่น มุมบล็อก มุมอิสระ เป็นต้น
วันอังคารที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 5
วันอังคาร ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2555
-เรื่องที่อาจารย์สอน
อาจารย์ยกตัวอย่าง
หน่วย ส้ม
ชนิดของส้ม
- เอาส้มใส่ตะกร้า ปิดผ้าไว้ ให้เด็กทายว่า "มีอะไรในตะกร้า?" - ให้เด็กๆทายว่า "มีส้มกี่ผล?" - ให้เด็กๆนับส้มเรียงจากซ้ายไปขวา - แยกส้มเขียวหวานใส่อีกตะกร้า - เปรียบเทียบส้มเขียวหวานกับส้มชนิดอื่นอย่างไหนมากกว่ากัน? - ทั้งหมดมีเท่าไหร่? เขียนตัวเลขฮินดูอารบิกกำกับ - ถามความรู้พื้นฐาน "เด็กๆรู้จักส้มชนิดใดอีกบ้างที่ครูนำมา"
ลักษณะของส้ม - แบ่งตาม รูปทรง - สี
- พื้นผิว - กลิ่น - รสชาติ
ส่วนประกอบ
-ให้สอนร่วมกันกับลักษณะได้โดยแยกให้เห็นชัดเจนโดยใช้ของจริง
-เปลือกส้ม
-ผิวส้ม
-ใยส้ม
-เนื้อส้ม
-เมล็ดส้ม
ข้อควรระวัง -ข้อควรระวังเป็นเนื้อหาควรที่จะใช้นิทานมาเชื่อมโยง
-เรื่องที่อาจารย์สอน
อาจารย์ยกตัวอย่าง
หน่วย ส้ม
ชนิดของส้ม
- เอาส้มใส่ตะกร้า ปิดผ้าไว้ ให้เด็กทายว่า "มีอะไรในตะกร้า?" - ให้เด็กๆทายว่า "มีส้มกี่ผล?" - ให้เด็กๆนับส้มเรียงจากซ้ายไปขวา - แยกส้มเขียวหวานใส่อีกตะกร้า - เปรียบเทียบส้มเขียวหวานกับส้มชนิดอื่นอย่างไหนมากกว่ากัน? - ทั้งหมดมีเท่าไหร่? เขียนตัวเลขฮินดูอารบิกกำกับ - ถามความรู้พื้นฐาน "เด็กๆรู้จักส้มชนิดใดอีกบ้างที่ครูนำมา"
ลักษณะของส้ม - แบ่งตาม รูปทรง - สี
- พื้นผิว - กลิ่น - รสชาติ
ส่วนประกอบ
-ให้สอนร่วมกันกับลักษณะได้โดยแยกให้เห็นชัดเจนโดยใช้ของจริง
-เปลือกส้ม
-ผิวส้ม
-ใยส้ม
-เนื้อส้ม
-เมล็ดส้ม
ข้อควรระวัง -ข้อควรระวังเป็นเนื้อหาควรที่จะใช้นิทานมาเชื่อมโยง
วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
วันอังคาร ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2555
- เรียนเรื่อง การจัดทำโปรแกรม Mind Map. ในคอมพิวเตอร์
- นำเสนองานกลุ่มของแต่ละหน่อยที่อาจารย์ให้แต่งประโยค 12 ข้อ
หน่วยเรื่องกล้วย
-ให้แต่ละกลุ่มจัดว่าในแต่ละวันว่าเราจะสอนในเนื้อหาอะไร โดยใน 1 วัน สอน 1 เรื่อง / 1 คน
- เรียนเรื่อง การจัดทำโปรแกรม Mind Map. ในคอมพิวเตอร์
- นำเสนองานกลุ่มของแต่ละหน่อยที่อาจารย์ให้แต่งประโยค 12 ข้อ
หน่วยเรื่องกล้วย
งานที่มอบหมาย
-ให้แต่ละกลุ่มจัดว่าในแต่ละวันว่าเราจะสอนในเนื้อหาอะไร โดยใน 1 วัน สอน 1 เรื่อง / 1 คน
วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 3
วันอังคาร ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2555
- อาจารย์บรรยายถึงวัตถุประสงค์ของการสร้างหน่วยเพื่อ?
- อธิบายถึงเนื้อหาและทักษะ ทั้ง 12 ข้อ
(นิตยา ประพฤติกิจ 2547: 17-19)
1. การนับ
เป็นคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก เป็นการนับอย่างมีความหมาย
2. ตัวเลข
เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวัน ให้เด็กนับและคิดเอง
3. การจับคู่
เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการจับคู่ จำนวน/จำนวน จำนวน/ตัวเลข
4. จัดประเภท
เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตสิ่งต่างๆ และจัดประเภทได้
5. การเปรียบเทียบ
เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสำพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่า
6. การจัดลำดับ
เป็นการจัดสิ่งของเป็นชุดๆ เรียงตามลำดับ หนัก-เบา / เบา-หนัก
7. รูปทรงและเนื้อที่
สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ความกว้าง ความหนา ความลึก
8. การวัด
การหาค่า เพื่อให้รู้ขนาดโดยการใช้เครื่องมือต่างๆในการวัดหาค่าความยาว ความกว้าง การหาค่าน้ำหนัก (ชั่งน้ำหนัก) หาค่าโดยการวัด การชั่ง การตวง
9. เซต
จัดหมวดหมู่สื่งที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน เช่น จัดหมวดหมู่อุปกรณ์ในการรับประทานอาหาร
10. เศษส่วน
การแบ่งสัดส่วน เช่นการแบ่งขนม แบ่งไป1ชิ้น เหลือ3ชิ้น มีขนมทั้งหมด4ชิ้น เหลือ3ใน4
11. ทำตามแบบหรือลวดลาย
เป็นแบบข้อตกลงร่วมกัน คณิตศาสตร์มีระบบมีวิธีการ จึงต้องให้เด็กมีประสบการณ์ในการทำตามแบบ
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
เยาวพา เดชะคุป ( 2542:87-88 )
- อาจารย์บรรยายถึงวัตถุประสงค์ของการสร้างหน่วยเพื่อ?
- อธิบายถึงเนื้อหาและทักษะ ทั้ง 12 ข้อ
(นิตยา ประพฤติกิจ 2547: 17-19)
1. การนับ
เป็นคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก เป็นการนับอย่างมีความหมาย
2. ตัวเลข
เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวัน ให้เด็กนับและคิดเอง
3. การจับคู่
เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการจับคู่ จำนวน/จำนวน จำนวน/ตัวเลข
4. จัดประเภท
เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตสิ่งต่างๆ และจัดประเภทได้
5. การเปรียบเทียบ
เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสำพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่า
6. การจัดลำดับ
เป็นการจัดสิ่งของเป็นชุดๆ เรียงตามลำดับ หนัก-เบา / เบา-หนัก
7. รูปทรงและเนื้อที่
สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ความกว้าง ความหนา ความลึก
8. การวัด
การหาค่า เพื่อให้รู้ขนาดโดยการใช้เครื่องมือต่างๆในการวัดหาค่าความยาว ความกว้าง การหาค่าน้ำหนัก (ชั่งน้ำหนัก) หาค่าโดยการวัด การชั่ง การตวง
9. เซต
จัดหมวดหมู่สื่งที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน เช่น จัดหมวดหมู่อุปกรณ์ในการรับประทานอาหาร
10. เศษส่วน
การแบ่งสัดส่วน เช่นการแบ่งขนม แบ่งไป1ชิ้น เหลือ3ชิ้น มีขนมทั้งหมด4ชิ้น เหลือ3ใน4
11. ทำตามแบบหรือลวดลาย
เป็นแบบข้อตกลงร่วมกัน คณิตศาสตร์มีระบบมีวิธีการ จึงต้องให้เด็กมีประสบการณ์ในการทำตามแบบ
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
เยาวพา เดชะคุป ( 2542:87-88 )
งานที่มอบหมาย
-
ให้แต่งประโยคมากลุ่มละ
12 ข้อ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียนในวันนี้ ว่าเราจะนำไปสอนในหน่วยอะไรได้บ้าง.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)